๒๓๒๙ - ๒๓๕๓ แสดงความจงรักภักดีต่อรัชกาลที่ 9 แห่ง
ราชวงศ์จักรีเป็นอย่างยิ่ง นับแต่เข้าเฝ้ารัชกาลที่ 9 พ.ศ. ๒๓๓๑ ยกทัพไปสมทบทัพเชียงใหม่และ ลําปางไปตีเมืองเชียงแสนคืนจากพมา และลงมา ร่วมพิธีพระบรมศพรัชกาลที่ ๑ พ.ศ. ๒๓๕๓ จนตนประชวรและถึงพิราลัยที่กรุงเทพฯ เจ้าอัตถวรปัญโญศรัทธาทํานุบํารุงพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๓๓๒ บูรณะวัดพระธาตุแช่แห้ง พ.ศ. ๒๓๓๖ สร้างพระปางมารวิชัยสําริด ที่วัดศรีบุญเรืองและสร้างวัดบุญยืน ที่เวียงสา พ.ศ. ๒๓๔๐ สันนิษฐานว่า บ้านบุญยืน อ.เวียงสา น่าจะเป็นศูนย์กลางนครน่านระยะหนึ่ง ช่วงที่เวียงนานร้างก่อนเจ้าอัตถวรปัญโญ จะย้ายเมืองกลับไปที่เวียงนาน ณ ที่ตั้งเมืองน่าน ปัจจุบัน ใน พ.ศ. ๒๓๔๓ - ๒๓๔๔
พ.ศ. โดยประมาณ : ๒๓๕๓ - ๒๓๖๘
พ.ศ. ๒๓๕๓ ยกทัพตีเมืองลา เมืองพง เชียงแข็ง ภูคา แล้วกวาดต้อนผู้คนมานาน นําพญาหัวเมือง เฝ้ารัชกาลที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๕๙ น่าช้างเผือกถวาย รัชกาลที่ ๒ ต่อมาพ.ศ. ๒๓๖๐ น้ําท่วมเวียงนาน เสียหายมากจึงย้ายเมืองไปเวียงเหนือ ศูนย์กลาง นครรัฐนานอยู่ที่เวียงเหนือ ๓๖ ปี
พ.ศ. โดยประมาณ : ๒๓๕๓ - ๒๓๖๘
พ.ศ. ๒๓๖๔ สถาปนาเจ้าอาวาสวัดพญาวัดเป็น มหาสังฆราชาปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๓๖๔ - ๒๓๖๖ สรางวัดสถารศและหลอ พระพุทธรูปสําริด พ.ศ. ๒๓๖๙ มาร่วมพิธีพระบรมศพรัชกาลที่ ๒ เกิดประชวรถึงแก่พิราลัยที่กรุงเทพฯ รัชกาลที่ ๓ ให้ปลงศพที่วัดแจ้ง
พ.ศ. โดยประมาณ : ๒๓๖๘ - ๒๓๗๘
พ.ศ. ๒๓๖๙ เกณฑ์พลนานไปร่วมปราบกบฏ เจ้าอนุวงศ์ที่เวียงจันทน์ พ.ศ. ๒๓๗o นานถูกเกณฑ์ไพร่พลไปรักษาเมือง หลวงพระบางซึ่งขณะนั้นอยู่ในอาณาจักรสยาม
พ.ศ. โดยประมาณ : ๒๓๗๙
ครองเมืองได ๗ เดือน ก็ประชวรพิราลัยขณะมา เฝ้ารัชกาลที่ ๓
พ.ศ. โดยประมาณ : ๒๓๘๑-๒๓๙๔
สร้างพระวิหารวัดสถารศ พ.ศ.๒๓๘๑ วัดสร้างวัดพระเกิดและบูรณะวิหารวัดพระธาตุแช่แห้ง
ถนนในเขตเทศบาลเมืองน่านตั้งชื่อตามนามของเจ้าครองนครนานหลายองค์ อาทิ ถนนมหายศ เป็นถนนที่ยาวที่สุดในเขตเทศบาลตั้งแต่ริมน้ำน่านด้านใต้กาดแลงขึ้นไปทางเหนือถึงมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน และ ถนนสุมนเทวราช ซึ่งมีความยาวเป็นลําดับสอง
พ.ศ. โดยประมาณ : ๒๓๙๕ - ๒๕๓๔
พ.ศ. ๒๓๙๖ รัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดเกล้าให้เจ้าอนันตวรฤทธิเดชยกทัพไปตีสิบสอง ปันนาและเชียงรุ่ง พอทัพไปถึงเจ้าเมืองเชียงรุ่ง ขอสวามิภักดิ์ต่อรัตนโกสินทร์ จึงไม่เสียเลือดเนื้อ พ.ศ. ๒๓๙๗ - ๒๓๙๘ นานยกทัพไปช่วยทัพของ กรมหลวงวงศาธิราช ตีเมืองเชียงตุง พ.ศ. ๒๓๙๘ แม่น้ําน่านเปลี่ยนเส้นทางทางแนว กําแพงเวียงใต้ซึ่งถูกน้ําท่วมสมัยเจ้าสุมนเทวราช จนต้องย้ายเมืองมาเวียงเหนือ พอน้ําเบี่ยงทางไป เจ้าอนันตวรฤทธิเดช ย้ายเมืองจากเวียงเหนือ มาเวียงใต้ตามเดิม แล้วชอมกําแพงเมือง พ.ศ. ๒๔๐๐ - ๒๔๓๔ บูรณะวัดพระธาตุแช่แห้ง วัดภูมินทร์ วัดพญาภู และวัดในเวียงใต้หลายวัด รวมทั้งได้คัดลอกพระคัมภีร์อีกมากมาย
จิตรกรรมวัดภูมินทร์ภาพผู้ครองนครน่าน เคยมีผู้ให้คําอธิบายว่าเป็นภาพของ เจ้าอนันตวรฤทธิเดช แต่ต่อมานักวิชาการ หลายท่านได้ให้ข้อสรุปว่า เป็นภาพของพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช เพราะในช่วงที่บูรณะวัดภูมินทร์ เจ้าอนันตวรฤทธิเดชมีอายุกว่าในภาพ
พ.ศ. โดยประมาณ : ๒๔๓๖ - ๒๔๖๑
โอรสเจ้าอนันตวรฤทธิเดช ประสูติ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๗๔ ทิวงคต เมื่อ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๑ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวทรงปรับเปลี่ยนการปกครองหัวเมือง โดยโปรดให้พระบรมวงศานุวงศ์กํากับดูแลการ บริหารของผู้ครองนครต่างพระเนตรพระกรรณ พ.ศ. ๒๕๕๖ รัชกาลที่ ๕ โปรดเกล้าฯ สถาปนา เจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชขึ้นเป็นพระเจ้านครน่าน” มีพระนามจารึกในพระสุพรรณบัตรว่า “พระเจ้า สุริยพงษ์ผริตเดช กุลเชษฐมหันต์ ชัยนนทบุร มหาราชวงศาธิบดี สุจริตจารีราชานุภาวรักษ วิบูลศักดิ์กิตไพศาล ภูบาลบพิตรสถิตย ณ นันทราชวงศ” ทรงเป็นพระเจ้านครน่านองค์แรก และองค์เดียวแห่งราชวงศ์หลวงตื่น (มหาวงศ์) พ.ศ. ๒๕๔๖ โปรดให้สร้างหอคํา อาคารทรงไทย ผสมตะวันตกเป็นวังที่พํานักและเป็นที่ว่าราชการ
ผังแสดงทักษาเมืองน่าน โครงสร้างและองค์ประกอบของผังเมืองน่าน คล้ายคลึงกับทุกเมืองในดินแดนล้านนา เช่น เชียงใหม่ เชียงราย แพร่ น่าน พะเยา เชียงตุง เชียงรุ้ง เมืองยอง รวมถึงเมืองที่มีสัมพันธไมตรีกับ " ล้านนาในอดีต โครงสร้างองค์ประกอบเมืองที่สําคัญ คือ กําแพงเมือง ประตูเมือง ข่วง (ลานโล่ง) วัดวังหรือคุ้ม 4 ดังมีคํากล่าวไว้ว่า ภายในกําแพงเมืองน่านมี “๗ ประตู ๑ หนอง ๑๒ วัด” สําหรับ " ๓ หนอง คือ หนองแก้ว อยู่ติดกําแพงเมืองด้านในทิศเหนือของวัดมงคลไปจนถึงถนนมหายศ -เพื่อเก็บน้ําไว้ใช้ในฤดูแล้งและให้สัตว์พาหนะดื่มกิน สําหรับ ๓๒ วัด ประกอบด้วย วัดพระธาตุ ข้างค้ําวรวิหาร วัดกู่คํา วัดพญาภู วัดภูมินทร์ วัดมิ่งเมือง วัดหัวข่วง วัดไผ่เหลือง วัดมงคล วัดมณเฑียร วัดอภัย วัดศรีพันต้น และวัดน้อย
วังหรือคุ้มเป็นที่อยู่อาศัยของเจ้าผู้ครองนครและญาติพี่น้อง ตั้งอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ที่ดินจํานวนมาก ในบริเวณพื้นที่เมืองประวัติศาสตร์น่านขั้นในเป็นของเจ้าผู้ครองนครน่านและญาติพี่น้อง ต่อมา บางส่วนได้ขายให้เอกชน และบางส่วนได้ยกให้เป็นที่ตั้งสถานที่ราชการ
วัดเมืองน่านมีวัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหารเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนา และยังเป็นที่เก็บสถูปของเจ้าผู้ครองนครน่าน ทั้งยังมีวัดที่มีความสําคัญในด้านประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม และสถาปัตยกรรมอีกหลายแห่ง ได้แก่ วัดภูมินทร์ วัดหัวข่วง วัดพญาวัด วัดกู่คํา วัดพญาภู วัดสวนตาล วัดท่าล้อ วัดพระธาตุแช่แห้ง และวัดพระธาตุเขาน้อย
เป็นสถานที่อยู่อาศัยของชาวเมืองน่าน โดยคุ้มเจ้านายเชื้อพระวงศ์อยู่รอบคุ้มหลวง บริเวณ เดชเมืองและอายุเมือง ส่วนขุนนาง ข้าราชการ พ่อค้าคหบดี ไพร่พลเมือง จะอยู่บริเวณศรีเมือง อุตสาหะเมือง และมนตรีเมือง ชุมชนที่อยู่อาศัยในบริเวณกําแพงเมือง เรียกว่า “ในเวียง” และ 2 ชุมชนที่อยู่นอกกําแพงเมือง เรียกว่า นอกเวียง”
ที่อยู่อาศัยเป็นสถานที่อยู่อาศัยของชาวเมืองน่าน โดยคุ้มเจ้านายเชื้อพระวงศ์อยู่รอบคุ้มหลวง บริเวณ เดชเมืองและอายุเมือง ส่วนขุนนาง ข้าราชการ พ่อค้าคหบดี ไพร่พลเมือง จะอยู่บริเวณศรีเมือง อุตสาหะเมือง และมนตรีเมือง ชุมชนที่อยู่อาศัยในบริเวณกําแพงเมือง เรียกว่า “ในเวียง” และ 2 ชุมชนที่อยู่นอกกําแพงเมือง เรียกว่า นอกเวียง”